การสัมภาษณ์คนรอบตัวผู้รับการโค้ชช่วยให้เห็น Pattern ของพฤติกรรมของผู้รับการโค้ชซึ่งมีผลต่อการทำงาน สามารถนำมากำหนดเป้าหมายการโค้ชได้
วีดีโออธิบายวิธีการสรรหาโค้ชอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่การทำรายชื่อจนถึงระหว่างการโค้ช จากงานสัปดาห์การโค้ชนานาชาติ พค 2566
หลายคนสงสัยว่าถ้าการโค้ชคือการใช้คำถามมากกว่าการสอนหรือแนะนำ แล้วผู้ร้บการโค้ชจะได้อะไรจากการโค้ช
การทำงานให้สำเร็จต้องใช้อะไร คุณใช้ความสัมพันธ์หรือผลลัพธ์ของงานเป็นตัวตั้ง
คนทำงานเก่งมาถึงจุดที่ทุกปัญหาเขา “เอาอยู่” งานนี้ไม่ท้าทายแล้ว แต่ไม่อยากลาออก ทำอย่างไรดี
เราได้ผลลัพธ์คุ้มค่าการลงทุนจากโค้ชชิ่งไหม ROI เท่าไร แล้วผลลัพธ์นั้นจะยั่งยืนหรือเปล่า
อะไรๆก็ประดังเข้ามา ยุ่งมากก็เครียดมาก ยิ่งเครียดก็ยิ่งพัง ถ้าอยากจะเอาให้อยู่หมัดจะต้องทำยังไงหล่ะ
โค้ชคะ งานก็ยุ่ง ลูกก็เล็ก บางวันทำงานถึงเช้า เสาร์อาทิตย์ก็ต้องทำงาน รู้สึกว่า Burnout ไม่ไหวแล้วค่ะ
เดี๋ยวนี้ลูกโตแล้ว เขาไม่ฟังเราหรอก! พ่อแม่หวังดีนะ แต่ลูกไม่เข้าใจหรอก! คำพูดคุ้นหูเหล่านี้จะคลี่คลายลงหากพ่อแม่มีทักษะการโค้ช
จริงหรือที่ต้องใช้คำถามทรงพลังในการโค้ช ยังมีวิธีอื่นอีกไหมที่จะทำให้ผู้รับการโค้ชได้คำตอบที่ตัวเองต้องการ
เมื่ออยากปฏิเสธงานที่เข้ามาเพิ่ม แต่ไม่รู้จะบอกอย่างไร จึงนำเรื่องนี้มาคุยกับโค้ช
หัวข้อยอดฮิตของการโค้ชคือ “Work Life Balance” แล้วเขาจะเริ่มจากตรงไหนดีถ้าทั้งงานและครอบครัวก็ต้องการเวลาจากเขาทั้งนั้น
“โค้ช” คำนำหน้าชื่อบุคคลที่จะบอกว่าเขาทำอาชีพอะไร หรือมีหน้าที่อะไร แค่นั้นจริงหรือ?
ในช่วงโควิด โค้ชชิ่งยังเป็นเครื่องมือการยกระดับผลงานที่มีประสิทธิภาพอยู่ไหม บุคลากรในองค์กรต่างๆยังได้ประโยชน์จากการโค้ชมากเพียงใด
เราไม่ได้ต้องการแค่บุคลากรที่มี IQ สูง และ EQ ดี แต่เรายังต้องการบุคลากรที่ส่งเสริมความแข็งแรงให้องค์กรด้วย
จาก New Normal เป็น Now Normal ที่คุ้นชิน แล้วต่อจากนี้หล่ะ เราได้เตรียมความพร้อมอะไรบ้างเพื่อจะไปต่อหลังยุคโควิด
อะไรเป็นเหตุให้ผลงานของทีมไม่ดี โค้ชจะช่วยให้ผู้นำหาสาเหตุพบได้อย่างไร
หัวข้อยอดฮิตของการโค้ช คือ Work Life Balance และ Burnout สาเหตุและการจัดการของแต่ละคนผ่านการสะท้อนของโค้ชให้คำตอบอะไรบ้าง
การโค้ชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต้องโค้ชลงลึกแค่ไหน โค้ชต้องมีทักษะอะไรบ้างเพื่อให้เปลี่ยนแปลงได้อย่างยั่งยืน
โค้ชชิ่งสมัยปี 1996 เป็นอย่างไร เขานิยามว่าอะไร คือการสอน การเป็นพี่เลี้ยง หรือความหมายอื่น
การอยู่กับปัจจุบันของโค้ช ช่วยโค้ชชี่สร้างผลลัพธ์ที่ยั่งยืน
การโค้ชเป็นบทสนทนาที่พิเศษและต้องการผลลัพธ์ มีปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งเสริมให้การสนทนานั้นพิเศษและได้ผลลัพธ์
จริงหรือที่ว่าโค้ชไม่ต้องเก่งในเรื่องราวของโค้ชชี่ แค่เก่งในกระบวนการโค้ชก็พอ
เมื่อองค์กรจ้างโค้ชผู้บริหารมาให้ผู้บริหารแล้ว จะทำอะไรได้บ้างเพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด
เมื่อการนิยามคุณภาพของโค้ชเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก ผู้เขียนจึงเสนอแนวคิดเรื่อง วุฒิภาวะของโค้ช (Coach Maturity) เพื่อบ่งบอกว่าแต่ละระดับโค้ชมีความแตกต่างกันอย่างไร
เทคนิคสำหรับทีม HR หรือผู้คัดเลือกโค้ช เพื่อจะได้ไม่พลาดในการสรรหาโค้ชและได้มีแนวทางในการคัดสรรโค้ชที่เหมาะสม โค้ชที่ "ใช่" สำหรับองค์กร ซึ่งเป็นแนวทางง่ายๆทำตามได้แน่นอน
ช่วงเครียดๆแบบนี้เราอาจจะมีความกังวลว่าจะเข้าหานายอย่างไรไม่ให้พลาด ถ้านายรู้สึกดีเราก็โล่งอก แต่ถ้าไม่ถูกชะตาขึ้นมาหล่ะเราคงจะหนาวๆร้อนๆเป็นแน่ ช่วงหน้าสิ่วหน้าขวานไม่ควรเสี่ยงโดยไม่จำเป็น แล้วเราจะดีลกับเจ้านายอย่างไรให้นายรัก
ในที่ทำงานจะมีบางคนที่รอคำสั่ง รอคำแนะนำ และลงมือทำตามคำบอกกล่าวนั้น แต่ก็จะมีคนอีกแบบที่ทำทุกอย่างในแบบที่ไม่ได้บอก คนเราช่างต่างกันแต่เมื่อมาอยู่รวมกันจะโน้มน้าวใจอย่างไรให้ได้ในแบบที่เราต้องการ
ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดความไว้ใจระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง คือ การสั่งงานแล้วได้งานตามที่บอก หัวหน้าจะโค้ชอย่างไร ผู้บริหารจะแน่ใจได้อย่างไรว่าผลงานจะยังดีเหมือนเดิม